รายละเอียด |
: |
พิธีเททองหล่อพระกริ่ง ณ อุโบสถวัดละหารไร่ เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2546 นับเป็นพระเครื่องที่ได้รับความนิยมและกล่าวถึงมากที่สุดของปี ....ชนวนศักดิ์สิทธิ์ประกอบไปด้วย ชนวนพระกริ่งชินบัญชรรุ่นแรก ชนวนพระกริ่งชินบัญชรมหาโสฬส ชนวนพระกริ่งชินบัญชรพญากาลนาค ตะกรุดสำคัญของหลวงปู่ทิม แผ่นยันต์จากหลวงปู่ธรรมรังษี หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร หลวงพ่อสาคร มนุญโญ และที่สำคัญคือตะกรุดมหาปราบที่หลวงปู่ทิมลงให้ โดยถวายให้กับหลวงพ่อสาครใส่ลงในเบ้าหลอม พระอาทิตย์ทรงกลดและสายฝนโปรยปรายอย่างเบาบางประมาณ 5 นาที .........พิธีเททองเริ่ม 13.19 น.บัณฑิตอ่านโองการเชิญครูบาอาจารย์ เทพยดาทุกชั้นฟ้า จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พระสงฆ์ 9 รูปสวดชยันโต พราหม์ลั่นฆ้อน พระเทพคุณาธาร จุดเทียนชัย พระคณาจารย์นั่งปรก 4 ทิศ ...หลวงปู่ธรรมรังษี ...หลวงพ่อสาคร วัดหนองกลับ ...หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร ...หลวงพ่อแจ่ม วัดเขาสำเภาทอง ......... จากนั้นช่างสมรเริ่มเททอง อากาศซึ่งร้อนอบอ้าวกลับเย็นสบาย ท้องฟ้ามืดครึ้มไปด้วยเมฆฝน แต่ในพิธีกลับไม่มีฝนเลย เกือบ 4 ชม.หลังจากเทพระเสร็จฝนเริ่มตกลงมาปรอยๆ นับเป็นเรื่องอัศจรรย์เพราะรอบๆวัดฝนตกน้ำท่วมอย่างหนัก จำนวนการสร้าง 1.พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อทองคำ จำนวนสร้าง 19 องค์ 2.พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อนวโลหะก้นทองคำ จำนวนสร้าง 300 องค์ 3.พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อเงินก้นอุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง 500 องค์ 4.พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อนวโลหะก้นอุดผงพรายกุมาร จำนวนสร้าง 1,500 องค์ 5.รูปเหมือนหลวงปู่ทิม เนื้อเงิน จำนวนสร้าง 300 องค์ 6.รูปเหมือนหลวงปู่ทิม เนื้อนวโลหะ จำนวนสร้าง 1,000 องค์ กริ่งชินบัญชรมหาปราบสร้างเมื่อ ปี 2546 ที่วัดละหารไร่ ชนวนศักดิ์สิทธิ์ประกอบไปด้วย ชนวนพระกริ่งชินบัญชรรุ่นแรก ชนวนพระกริ่งชินบัญชรมหาโสฬส ชนวนพระกริ่งชินบัญชรพญากาลนาค ตะกรุดสำคัยของหลวงปู่ทิม แผ่นยันต์จากหลวงปู่ธรรมรังษี หลวงพ่อฟู วัดบางสมัคร หลวงพ่อสาคร มนุญโญ และที่สำคัญคือตะกรุดมหาปราบที่หลวงปู่ทิมลงให้ โดยถวายให้กับหลวงพ่อสาครใส่ลงในเบ้าหลอม พระอาทิตย์ทรงกลดและสายฝนโปรยปรายอย่างเบาบางประมาณ 5 นาที พิธีเททองเริ่ม 13.19 น.บัณฑิตอ่านโองการเชิญครูบาอาจารย์ เทพยดาทุกชั้นฟ้า จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พระสงฆ์ 9 รูปสวดชยันโต พราหม์ลั่นฆ้อน พระเทพคุณาธาร จุดเทียนชัย พระคณาจารย์นั่งปรก 4 ทิศ หลวงปู่ธรรมรังษี, หลวงพ่อสาคร , หลวงพ่อฟู , หลวงพ่อแจ่ม วดเขาสำเภาทอง จากนั้นช่างสมรเริ่มเททอง อากาศซึ่งร้อนอบอ้าวกลับเย็นสบาย ท้องฟ้ามืดครึ้มไปด้วยเมฆฝน แต่ในพิธีกลับไม่มีฝนเลย เกือบ 4 ชม.หลังจากเทพระเสร็จฝนเริ่มตกลงมาปรอยๆ นับเป็นเรื่องอัศจรรย์เพราะรอบๆวัดฝนตกน้ำท่วมอย่างหนัก พระรุ่นนี้ทุกองค์จะอุดผง ทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วย ผงพรายกุมาร , ผงมหาปราบ , ผงกรามช้างน้ำ , ผงจินดามณี , ผงอิติปิโส 108 , น้ำมันลูกประคำ , ทับทิมเสก , สีผึ้งมหานิยม , น้ำมนต์ปี 16 , จีวรหลวงปู่ทิม และสิ่งสำคัญสุดคือ เกศาหลวงปู่ทิม มีบรรจุอยู่ทุกองค์ ๑. ช่อชินบัญชรมหาปราบ เนื้อนวะโลหะ (พระกริ่ง ๙ องค์ ,รูปเหมือนลอยองค์ ๑ องค์ เป็นหนึ่งช่อ ที่ฐานช่ออุดผง-ไม่อุดทุกองค์ ) มีเพียง ๓๓๓ ช่อ ๒. พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อทองคำ ก้นอุดผงพรายกุมาร สร้าง ๑๙ องค์ ๓. พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อนวะโลหะ อุดผงพรายกุมารหุ้มก้นทองคำ สร้าง ๓๐๐ องค์ ๔. พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อเงิน ก้นอุดผงพรายกุมาร สร้าง ๕๐๐ องค์ ๕. พระกริ่งชินบัญชรมหาปราบ เนื้อนวะโลหะ ก้นอุดผงพรายกุมาร สร้าง ๑,๕๐๐ องค์ ๖. รูปเหมือนหลวงปู่ทิม อิสริโก เนื้อเงินอุดผงพรายกุมาร สร้าง ๓๐๐ องค์ ๗. รูปเหมือนหลวงปู่ทิม อิสริโก เนื้อนวะโลหะอุดผงพรายกุมาร สร้าง ๑,๐๐๐ องค์ |